หลักสูตร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
ปริญญาตรี 4 ปี (ทางวิชาการ)
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
หลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับภาวะผู้นําเชิงพุทธในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ทั้งในแง่ของสาขาพุทธศาสน์ศึกษา และรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําเชิงกลยุทธ์เพื่อการบริหารจัดการตามแนวพุทธศาสนศึกษาที่เข้ากับยุคสมัย โดยการคิดวิเคราะห์หาวิธีการแก้ไขปัญหาสังคมปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาหลักการทางด้านภาวะผู้นําตามแนวพุทธศาสน์ศึกษา ทั้งในแง่ของทฤษฎีและลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณลักษณะผูนําเชิงกลยุทธ์ที่มีวิสัยทัศน์ต่องานที่รับผิดชอบ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- อาจารย์/นักวิชาการ ด้านพุทธศาสน์ศึกษา
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงวัฒนธรรม เช่น พนักงานกรมการศาสนา
พนักงานสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
- นักวิชาการศาสนาในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาตินักวิชาการอิสระ
- มัคนายก
- พระสังฆาธิการ/พระธรรมทูต
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for
Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาที่ใช้การจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับเอกสารและตําราเรียนในวิชาของหลักสูตร มีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) โดยใช้หลัก Spiral Curriculumและเป็นแบบ Outcome-based Curriculum เน้นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม(Learner- centered Curriculum) คือ การจัดหลักสูตรโดยเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ทุกประเภทเข้าด้วยกันในแผนการจัดหลักสูตร เน้นการจัดเนื้อหาสาระให้เกี่ยวข้องกัน เชื่อมโยงความหมายและหลากหลายระดับ คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญในการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมสมรรถนะที่เป็นจุดเน้นของมหาวิทยาลัยด้าน GA6 มุ่งมั่นสู่ การพัฒนา ตามความสนใจของผู้เรียน
- การเพิ่มวิชาเลือกทางพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้มีรายวิชาที่หลากหลายและทันสมัย ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เรียน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐ เชน่ นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิชาการพัฒนาชุมชน (พัฒนากร) และนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงต่าง ๆ เช่น นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป และ นักประชาสัมพันธ์ 5.3 พนักงานของเอกชน เชน่ มัคคุเทศก์ศิลปวัฒนธรรม ล่ามแปลภาษา
- อาชีพอิสระ เช่น นักสร้างแรงบันดาลใจ Content CreatorและBlogger
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Philosophy, Religions and
Cultures
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Philosophy, Religions and
Cultures)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Philosophy, Religions and Cultures)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่เนUนการศึกษาแนวคิดทางปรัชญา ทั้งในแง่ของสาขาปรัชญาบริสุทธิ์และสาขาปรัชญาประยุกต์ที่เข้ากับยุคสมัยเพื่อใช้ในการคิดวิเคราะห์หาวิธีการแก้ไขปัญหาสังคมปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาแนวคําสอนทางศาสนา ทั้งในแง่หลักวิชาการและหลักปฏิบัติเพื่อบูรณาการปรับใช้ในวิถีชีวิตปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาหลักการทางวัฒนธรรม ทั้งในแง่ของทฤษฎีและลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทย
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการ ด้านปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวง เช่น พนักงานกรมการศาสนา พนักงานสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
- นักวิชาการศาสนาในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักเผยแผ่พระพุทธศาสนา นักพัฒนาสังคม
- อนุศาสนาจารย์
- ศาสนทายาท/สนองงานคณะสงฆ์/พระธรรมทูต
- อาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhism and Philosophy
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhism and Philosophy)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhism and Philosophy) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาหลักการทางพระพุทธศาสนา ทั้งหลักวิชาการและหลักปฏิบัติเพื่อบูรณาการปรับใช้ในวิถีชีวิต
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาแนวคิดทางปรัชญา ทั้งสาขาปรัชญาบริสุทธิ์และสาขาปรัชญาประยุกต์ ที่เหมาะสมกับยุคสมัยเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคมปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ และเป็นนักเผยแผ่องค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนาและปรัชญา โดยจัดให้มีการเรียนการสอนโดยใช้เอกสารตำราภาษาอังกฤษในการศึกษาค้นคว้า มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และมีการสอบวัดระดับภาษาอังกฤษเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการค้นคว้าและสื่อสารข้อมูลเชิงวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พระสังฆาธิการ/พระธรรมทูต/พระธรรมวิทยากร
- บุคลากรของส านักงานแม่กองบาลีสนามหลวง แม่กองธรรมสนามหลวง มหาวิทยาลัยทางพระพุทธศาสนา หรือโรงเรียนพระปริยัติธรรม
- อาจารย์/นักวิชาการ ด้านพระพุทธศาสนาและปรัชญา
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐ เช่น อนุศาสนาจารย์ พนักงานกรมการศาสนานักวิชาการศาสนาในสังกัดส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- พิธีกร อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) คอนเทนต์ครีเอเตอร์(Content Creator) นักเขียนอาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhism
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พระพุทธศาสนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhism)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhism) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถเขียนอ่านภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ออกแบบหลักสูตร โดย มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome-based Education)
- การจัดกลุ่มวิชาเอกพระพุทธศาสนาเพื่อส่งเสริมสมรรถนะที่เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ในวิถีที่ 4 ปฎิบถ: ฟื้นฟูเยียวยานําพากลับสูความสว่างสงบ ร่วมเสริมพลังให้สมาชิกในสังคม ที่พลัดหลงฟื้นคืนสู่ความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- โค้ชชีวิต (Life Coach)
- นักวิชาการอิสระ
- ศาสนพิธีกร
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Pali and Sanskrit
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาบาลีและสันสกฤต)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาบาลีและสันสกฤต)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Pali and Sanskrit)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Pali and Sanskrit) - วิชาเอก
มีจํานวน 2 วิชาเอก ดังนี้
1) พุทธศาสตรR(Buddhist Studies)
2) พระไตรปàฎกศึกษา (Tripitaka Studies)
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
126 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
5.3.1 วิชาเอกพุทธศาสตร์รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.3.2วิชาเอกพระไตรปิฎกศึกษา รับเฉพาะพระภิกษุสามเณร สังกัดคณะสงฆ์ไทย
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- อาจารย์ประจําหลักสูตรฯ มีคุณวุฒิและความรู้ความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาวิชา
- มีทุนการการศึกษาให้สำหรับนักศึกษาทั้งหมด
- มีห้องสมุดประจำสาขาวิชา
- เมื่อเรียนนักศึกษาสามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการศึกษาพระพุทธศาสนาได้
- นักศึกสามารถรู้และเข้าใจภาษาบาลีสันสกฤตได้เป็นอย่างดี
- หลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบบูรณาการให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พระธรรมทูต/ พระสังฆาธิการ/ อนุศาสนาจารย์
- อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย/ ครูสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม
- นักวิจัย/ นักวิชาการศึกษา/นักวิชาการอิสระ
- บรรณาธิการ/ นักเขียน/ นักภาษาโบราณ/ นักอักษรศาสตร์
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวง องค์การมหาชนที่เกี่ยวข้อง
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in English
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดกาเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของไทย ตลอดจนความสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาได้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างเหมาะสม
- ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้คู่คุณธรรมและเป็นพลเมืองโลกที่ดี
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พนักงานในสถานประกอบการที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น
งานประชาสัมพันธ์ งานต้อนรับ งานพิธีกรและงานเขียนบทโฆษณา - พนักงานในหน่วยงานราชการที่ใช้ภาษาอังกฤษ เช่น กระทรวงการต่างประเทศ
สถานกงสุล กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ท่าอากาศยาน สำนักงานตำรวจตรวจ
คนเข้าเมือง - นักวิชาการ/นักวิจัยทางด้านภาษาอังกฤษ
- นักแปลภาษาอังกฤษอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Thai)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Thai) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
150 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
การจัดการเรียนการสอน และเอกสาร ตําราเรียนในวิชาของหลักสูตรเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งผลิตบัณฑิตที่เป็นผู้มีความรู้ทั้งเชิงกว้าง คือ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาภาษาไทยได้
- มุ่งสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ทางด้านภาษาไทยให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา
- สามารถปฏิบัติงานที่เน้นการใช้ทักษะการสื่อสารในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถปรับใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรมนําไปสู่การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคงของจิตใจและมีจิตสาธารณะสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุล
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการด้านภาษาไทย
- เจ้าหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเอกสาร เช่น เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่สารบรรณ เจ้าหน้าที่พิสูจน์อักษร เป็นต้น
- นักเขียน/นักวรรณกรรม
- พิธีกร/วิทยากร
- อาชีพอิสระ/บุคลากรทางการศึกษา
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Social Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาการพัฒนาสังคม)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (สาขาวิชาการพัฒนาสังคม)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Social Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Social Development) - วิชาเอกเดี่ยว
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
128 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
หลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้และความเข้าใจวิชาการทางด้านการพัฒนาสังคม และทางพระพุทธศาสนา
- มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักพัฒนาสังคม
- มีทักษะของนักพัฒนาสังคมที่มีธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- องค์กรคณะสงฆ์ ได้แก่ พระสังฆาธิการ เจ้าหน้าที่การศึกษาพระปริยัติธรรม (จศป.)
พนักงานมหาวิทยาลัยสงฆ์ นักวิชาการศาสนา พระธรรมทูต พระนักเทศน์ พระสอนศีลธรรม
- หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ นักวิชาการ พัฒนากร นักพัฒนาชุมชน เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม นักวิจัย นักวิชาการวัฒนธรรม (กระทรวงวัฒนธรรม) นักวิชาการศาสนา (สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ) นักวิชาการยุติธรรม นักทัณฑวิทยา (กระทรวงยุติธรรม)
- หน่วยงานเอกชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล (HR) เจ้าหน้าที่ฝ่ายฝึกอบรม ประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่รณรงค์ เจ้าหน้าที่มวลชนสัมพันธ์ (CSR)
- องค์การมหาชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) รัฐวิสาหกิจ ได้แก่ เจ้าหน้าที่การเคหะแห่งชาติเจ้าหน้าที่สำนักงานธนานุเคราะห์
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอกเดี่ยว
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Social Work Program in Social Work
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : สส.บ. (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Social Work (Social Work)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.S.W. (Social Work) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
147 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ได้แก่ กลุ่มรายวิชาปรัชญาและทฤษฎีทางสังคมสงเคราะห์ และ
พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ประยุกต์ กลุ่มรายวิชาวิธีวิเคราะห์ กลุ่มรายวิชาวิธีการปฏิบัติงานตรง การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม กลุ่มรายวิชาการฝึกภาคปฏิบัติทางสังคมสงเคราะห์
- การเรียนการสอนในหลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความรู้ด้านสังคมสงเคราะห์อย่างถูกต้อง (ความรู้)
- จัดการเรียนการสอนเพื่อเน้นให้ผู้เรียนมี 3Rs 8Cs ซึ่งเป็นคุณลักษะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักสังคมสงเคราะห์ / นักพัฒนาสังคม / พัฒนากร / พัฒนาชุมชน / พนักงานคุมประพฤติ / เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ / นักทัณฑวิทยา / นักวิชาการยุติธรรม
- เจ้าหน้าที่บุคคล / เจ้าหน้าที่พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- นักวิชาการ / นักวิจัย / นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- นักบริหาร / เจ้าหน้าที่บริหาร ฯลฯ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Thai
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Thai)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Thai) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ด้านหลักการสอนภาษาไทย วรรณคดีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครูได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- สามารถสื่อสารภาษาไทย ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน รวมทั้งสามารถผลิตสื่อการสอนทางภาษาไทยโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้
- บูรณาการศาสตร์การสอนเข้ากับวิชาเอกภาษาไทย และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยพุทธบูรณาการได้อย่างมืออาชีพ
- มีจิตอาสา มีความคิดสร้างสรรค์ หมั่นแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมอยู่เสมอ
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาไทยในสถานบันการศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- นักวิจัยทางด้านการศึกษาภาษาและการสอนภาษาไทย
- ผู้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนา และบริการทางการศึกษา
- นักวิชาการทางด้านหลักสูตร และเทคนิควิทยาการสอน
- นักวิชาชีพทางการศึกษาทั้งใน และนอกสถานศึกษา
- นักวิชาการ และนักวิจัย
- ประกอบอาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching English - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์และวิธีการสอนภาษาอังกฤษ กระบวนการวิจัย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และปรับเปลี่ยนหลักแนวคิดและทฤษฎีการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตามบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม การทําวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีความเป็นพลโลก
- มีทักษะการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในการจัดการเรียนรู้ และการวัดการประเมินผลทางการศึกษา
- มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู จิตวิญาณความเป็นครู ตระหนักถึงคุณค่าสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเป็นผู้นําในการพัฒนาคนบนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาอังกฤษของภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการด้านการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- บุคลากรทางการศึกษา
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Social Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Social Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Social Studies) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ในศาสตร์การสอนสังคมศึกษา นําความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าเหมาะสม
- มีทักษะด้านการสอนสังคมศึกษา และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ในการปฏิบัติวิชาชีพครู
- มีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการสอน และจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีภาวะความเป็นผู้นํา การทำงานเป็นทีม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนสังคมศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา
- นักวิชาการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- นักสันติศึกษาทางสังคมและศาสนาวัฒนธรรม
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ภาษาอังกฤษ : Graduate Diploma Program in Teaching Profession
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ป. บัณฑิต (วิชาชีพครู)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Graduate Diploma (Teaching Profession)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Grad. Dip. (Teaching Profession) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
33 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
เป็นนักศึกษาไทยที่ผ่านการคัดเลือกตามกระบวนการของคณะกรรมการประจำหลักสูตร 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
- เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตร สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถาบันสถาศึกษาที่ผ่านการประเมินของ สพฐ. รอบ 3 ขึ้นไป
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพเฉพาะด้าน สาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูนี้ได้กำหนดให้นักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกอบรม คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติธรรมกรรมฐานของมหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 15 วัน หรือตามที่หลักสูตรกำหนด จึงจะถือว่าได้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และเป็นหลักสูตรที่่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกรูปแบบที่ ทันสมัย ในการจัดการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน มีประมวลผลโดยใช้ AI พัฒนาสื่อด้วย Canva ทวนสอบการสอนด้วย Chat GPT โปรแกรมอื่น ๆ ที่ทันสมัยนิยม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่ ก.พ. รับรอง และเป็นผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ ครูหรือปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการสอนในสถานศึกษาและมีสัญญาจ้างงานจากสถานศึกษาเท่านั้น
- เป็นครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และการศึกษาพิเศษ หรือได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในวิชาใดวิชาหนึ่งต่อไปนี้ ปฐมวัยศึกษา ประถมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ โดยมีหนังสือสัญญาจ้างให้เป็นครูผู้สอน หรือ หนังสือรับรองปฏิบัติการสอนจากต้นสังกัด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือ บุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ผู้สมัครเข้าศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามข้อ ๑.๑ ข้อ ๑.๒ และได้รับการรับรองว่าเป็นผู้มีความ ประพฤติดีจากต้นสังกัด ทั้งนี้ให้มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่คุรุสภากำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ การงานอาชีพ การศึกษานอกระบบ บุคลากรทางการศึกษา และการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน
- เป็นครูปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการสอนในสถานศึกษา
- นักวิจัยทางการศึกษา และนักวิชาการทางการศึกษาในสถานศึกษา
- ประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เนื่องด้วยวิชาชีพครู ของศาสตร์สาขาวิชานั้นๆ
- เป็นนักวิชาการอิสระ และนักฝึกอบรม
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhism and Philosophy
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhism and Philosophy)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhism and Philosophy) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่บูรณาการศาสตร์ทางพุทธศาสนาและปรัชญา และเป็นแบบ Outcome-based curriculum
- เป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกําหนดกรอบมาตรฐานทางด้านคุณธรรมจริยธรรม ที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 คือ “กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา”
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมพัฒนาปัญญาและคุณธรรมที่เป็นจุดเน้นของสถาบันด้านการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมและส่งเสริมศักยภาพตามความสนใจของผู้เรียน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์หลักพุทธศาสนาและปรัชญาเพื่อสร้างนวัตกรรม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรอง และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
- หากนักศึกษาไม่มีพื้นฐานความรู้ทางพุทธศาสนาและปรัชญาในระดับปริญญาตรี นักศึกษาต้องศึกษาเพิ่มเติมในรายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นผู้เผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนาและปรัชญาในระดับชาติและนานาชาติ
- เป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการ
- เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐในสำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักวิชาการอิสระ
- เป็นวิทยากรอบรมด้านพุทธศาสนาและปรัชญา
- เป็นนักเขียนและผู้ผลิตงานด้านพุทธศาสนาและปรัชญา
- ใช้ร่วมกับทุกอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพอยู่ก่อน
วิทยาเขตที่เปิดสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.ม. (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhist Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhist Studies) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ แผน 1 (มีทั้งการเรียนและทำวิทยานิพนธ์)
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและต่างประเทศ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
- เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตรสนับสนุนให้นักศึกษาไปทำวิจัยหรือ ดูงานในสถานประกอบการต่าง ๆ เป็นต้น
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
- มีความรู้รอบและรู้ลึกในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทั้งด้านปริยัติและปฏิบัติ
- มีทักษะการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่และการถ่ายทอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
โดยใช้สื่อดิจิทัล - เห็นคุณค่าในการมีจิตสาธารณะและรับผิดชอบต่อสังคมตามภาวะผู้นําเชิงพุทธ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- ผู้สมัคร แผน 1 ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องทำวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้มหรือเทียบเท่าในกรณีที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการประสบการณ์การทำงานความรู้และความสามารถ ทั้งนี้ต้องมีแต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.30
- ผู้สมัครต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพระพุทธศาสนาต้องศึกษารายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 รายวิชา (6 หน่วยกิต)
- ผู้สมัครต้องเข้าสัมมนาตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- รับราชการในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- เป็นนักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- เป็นผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ประกอบการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ
วิทยาเขตที่เปิดสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศิลป์ศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Studies - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.ม. (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhist Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhist Studies) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ แผน 1 (มีทั้งการเรียนและทำวิทยานิพนธ์)
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและต่างประเทศ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
- มีความรู้ความสามารถในการประยุกต์ และวิเคราะห์งานพุทธศิลป์ได้อย่างมีระบบ
- มีทักษะการสร้างและจัดการองค์ความรู้ตามกระบวนการวิจัย
- เป็นนักอนุรักษ์ที่พัฒนางานพุทธศิลป์เพื่อสร้างสรรค์อย่างมีจิตสำนึกและเห็นคุณค่า
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ตามที่หลักสูตรกำหนดจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอื่นๆ ซึ่งหลักสูตรปริญญานั้นสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยให้การรับรอง
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้ม
ในกรณีที่ผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับเป็นนักศึกษาได้โดยพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี - ในกรณีที่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศต้องมีหนังสือรับรองวุฒิการศึกษาจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง หรือคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
- หากนักศึกษาไม่มีพื้นฐานความรู้ทางพุทธศิลป์ในระดับปริญญาตรี นักศึกษาต้องศึกษาเพิ่มเติมในรายวิชาพื้นฐาน
- มีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ไม่เป็นโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ผู้สมัครต้องเข้าสัมมนาตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
วิทยาเขตที่เปิดสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Master of Political Science Program in Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ม. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
42 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
ใช้การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นหลัก โดยอาจมีเอกสารและตําราเป็นภาษาอังกฤษบางรายวิชา
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ตอบโจทย์ผู้ที่ต้องการพัฒนาความรู้และทักษะด้านรัฐศาสตร์อย่างรอบด้าน
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนพัฒนาองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองและให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตกับคนทุกช่วงวัย โดยไม่จํากัดเฉพาะศาสตร์ด้านรัฐศาสตร์เพียงอย่าง
- เน้นผสานองค์ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกิดจากทั้งประสบการณ์ทางวิชาชีพ และวิชาการ ทักษะต่าง ๆ เชื่อมโยงกับหลักพระพุทธศาสนาด้วยเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ตามยุคสมัย
- หลักสูตรดำเนินการสร้างเครือข่ายทางวิชาการและวิชาชีพด้านรัฐศาสตร์และองค์กรทางศาสนา
- พัฒนาทักษะผู้เรียนให้เกิดการผสานความรู้ทางรัฐศาสตร์และพระพุทธศาสนา
- เน้นการศึกษาปฏิบัติและศึกษาดูงานจากของจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองการมีเหตุผลในการแก้ไขปัญหา การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง
- ส่งเสริมให้เกิดความคิดและความประพฤติที่มีคุณธรรม คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติ จนเกิดเป็นลักษณะนิสัยเป็นที่เคารพและน่าเชื่อถือ และนําไปสู่การคิดเชิงวิพากษ์ในการค้นคว้าวิจัย และผลงานทางวิชาการที่เกิดประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและสังคมโดยรวมในทุกมิติ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
- มีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
- ในกรณีที่เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือมีความรู้ และความสามารถที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
- กรณีที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ต้องมีใบรับรองการเทียบวุฒิจาก ก.พ. และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นชอบ
- สำเร็จการศึกษาจากการศึกษาคณะสงฆ์ไทย เปรียญธรรม 9 ประโยค
- สำหรับผู้ที่ไม่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ต้องเข้ารับการอบรมเพื่อเตรียมพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม
- คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1-7 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานในองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือการ
ประกอบอาชีพอิสระ ทั้งสำหรับผู้ที่เป็นบรรพชิต และคฤหัสถ์ ดังนี้
- บรรพชิตสามารถปฏิบัติงานตำแหน่งต่าง ๆ ในองค์กรคณะสงฆ์ได้แก่ พระสังฆาธิการเจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่
พระนักพัฒนาอาจารย์และนักวิชาการในมหาวิทยาลัยทางพุทธศาสนา - องค์การภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ นักปกครองระดับกลางและระดับสูง ปลัดอำเภอตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง นักพัฒนาชุมชน
- องค์การภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน
- องค์กรอิสระ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ สำนักงานสหประชาชาติ(UN) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
- ภาคประชาสังคมต่าง ๆ องค์กรไม่แสวงหาผลกําไร (NGOs) เครือข่ายองค์กรชุมชน
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Educational Administration) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
45 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จําแนกตามแผนการศึกษา ดังนี้
หลักสูตรแบบแผน 1 วิชาการ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเขSาศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
หลักสูตรแบบแผน 2 วิชาชีพ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ผู้ประกอบการสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา หรือ นักการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- นักวิจัยที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- บุคลากรที่สังกัดในหน่วยงานทั่วไป ที่นําความรู้การบริหารการศึกษาไปประยุกต์ใช้
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการวิจัยและพุทธปัญญาวิทยาทางการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Buddhist Intellectual
Science Research in Education
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
(การวิจัยและพุทธปัญญาวิทยาทางการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (การวิจัยและพุทธปัญญาวิทยาทางการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Buddhist Intellectual Science
Research in Education)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Buddhist Intellectual Science Research in
Education)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก (แบบ ก 1 / แบบ ก 2)
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับเฉพาะนักศึกษาไทย
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
- มีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านการวิจัย ปัญญาทางพุทธศาสนา และวิทยาการปัญญา ภายใต้บริบทแนวคิดทางการศึกษา และกระแสโลกาภิวัตน์การวิจัยและพุทธปัญญาวิทยาทางการศึกษา
- มีความรู้และทักษะในการวิจัยพื้นฐาน การวิจัยประยุกต์ และทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล มีความสามารถในการนําข้อมูลจากการวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์เพื่อวางแผนหรือประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ
- มีความสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางวิธีวิทยาการวิจัย ปัญญาทางพุทธศาสนาและวิทยาการทางปัญญาที่เกี่ยวข้องการศึกษา เน้นทักษะการบูรณาการองค์ความรู้ในลักษณะสหศาสตร์
- ผลิตบัณฑิตที่เป็นคนดี มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวทางพระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีความเป็นผู้นําและสร้างสังคมไทยให้เป็น “สังคมแห่งภูมิปัญญา การเรียนรู้
และเป็นศูนย์กลางทางวิชาการพระพุทธศาสนาเถรวาท”
คุณสมบัติผู้สมัคร
ผู้สมัครเข้าศึกษาต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา และมีคุณสมบัติทั่วไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
และหรือตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พระสังฆาธิการ พระธรรมทูต ที่มีความรอบรู้ด้านการวิจัยทางพุทธปัญญาวิทยา
- นวัตกร นักวิจัย นักสถิตินักวิเคราะห์และวางแผน
- ครู อาจารย์ นักวิชาการในมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา ศึกษานิเทศก์ นักพัฒนาการศึกษา ข้าราชการในหน่วยงานของรัฐ สำนักงานพุทธศาสนา, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงวัฒนธรรม นักวิชาการอิสระ
- วิทยากร ผู้ประกอบการธุรกิจ ด้านการอบรม การวิจัย สถิติ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศน.ด. (พุทธศาสน์ศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhist Studies) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
57 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก 2 แผน คือ แผน 1 และ แผน 2
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น - เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตรสนับสนุนให้นักศึกษาไปทำวิจัย หรือดูงานในสถานประกอบการต่าง ๆ เป็นต้น
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้เข้าใจและความสามารถทางพระพุทธศาสนา มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนต่อเนื่องตลอดชีวิต
- เพื่อส่งเสริมบัณฑิตให้ค้นคว้าวิจัย แสวงหาองค์ความรู้ใหม่ด้านพระพุทธศาสนา
- เพื่อเสริมสร้างบัณฑิตให้สามารถนำหลักพุทธธรรมไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและเผยแผ่องค์ความรู้ไปพัฒนาสังคมให้เกิดสันติสุข
- เพื่อให้บัณฑิตสามารถรักษาและสืบสานศิลปวัฒนธรรมและตอบสนองกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและสังคมไทย
- เพื่อพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตให้มีทักษะชีวิต คิดอย่างมีเหตุผล กล้าเผชิญสถานการณ์รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและใช้ปัญญาในการแก้ปัญหาตามแนวพระพุทธศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- ผู้สมัคร แผน 1 ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องทำวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์
ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาเพิ่มเติมตามที่หลักสูตรกำหนด
- ผู้สมัคร แผน 2 ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องทำดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 36
หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
ทั้งนี้ ดุษฎีนิพนธ์ตามแผน 1 และแผน 2 ต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน
- ผู้สมัครศึกษาทั้งแผน 1 และแผน 2 บัณฑิตวิทยาลัยอาจกำหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติม
หรือทำกิจกรรมทางวิชาการที่สอดคล้องกับลักษณะของสาขาวิชา เพื่อเพิ่มพูนความรู้และ
ประสบการณ์โดยไม่นับหน่วยกิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.50 จากระบบ 4 แต้ม
- หรือเทียบเท่าในกรณีที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณา รับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการประสบการณ์การทำงานความรู้และความสามารถ ทั้งนี้ ต้องมีแต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.30
- ผู้สมัครต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
- ผู้สมัครต้องเคยศึกษาในหลักสูตรที่มีการทำวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- ส่วนผู้ที่ศึกษาแผน 1 ต้องเป็นผู้ทำงานในสายวิชาการเช่น อาจารย์นักวิชาการ หรือนักวิจัยในมหาวิทยาลัยวิทยาลัยหรือสถาบันทางวิชาการอื่น ๆ ต้องมีประสบการณ์ด้านวิชาการมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพระพุทธศาสนาต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐาน
- ไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 รายวิชา (6 หน่วยกิต)
- ผู้สมัครต้องเข้าสัมมนาตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมี
- บุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- เจ้าที่ของรัฐในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- ผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ได้กับทุกอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพอยู่
- ใช้เป็นฐานการดำเนินชีวิตของคนในสังคมที่ประกอบอาชีพอื่น
วิทยาเขตที่เปิดสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhism and Philosophy
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ปร.ด. (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Buddhism and Philosophy)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhism and Philosophy) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
57 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แผน 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและต่างประเทศที่ อ่าน เขียน ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
- วิเคราะห์หลักพุทธศาสนาและปรัชญา ในการปรับใช้กับการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
- ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาและปรัชญา ควบคู่คุณธรรมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการรับใช้สังคม
- บูรณาการหลักพุทธศาสนาและปรัชญากับศาสตร์สมัยใหม่ ในรูปแบบส่งเสริมสังคมให้มีความสงบสุข
- สร้างองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมทางพุทธศาสนาและปรัชญา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรอง และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.5 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- ผู้สมัครต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
- ผู้สมัครต้องเคยศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทที่มีการทำวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- เจ้าที่ของรัฐในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- ผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ร่วมกับทุกอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพอยู่ก่อน
- ใช้เป็นฐานการดำเนินชีวิตของคนในสังคมที่ประกอบอาชีพอื่น ๆ
- รับราชการทหาร อนุศาสนาจารย์
วิทยาเขตที่เปิดสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science Program in Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ด. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : D.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
54 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แผน 2 แบบ 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยเป็นหลัก โดยอาจมีเอกสาร และตําราเป็นภาษาอังกฤษบางรายวิชา
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางรัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักรัฐศาสตร์
มีทักษะของนักปกครองตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร รวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา
ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ.รับรองหรือคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์และพุทธศาสตร์ต้องศึกษารายวิชา
ปรับพื้นฐานไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือตามเหมาะสมโดยให้ยึดมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นที่สิ้นสุด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา
หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม - คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1 – 5 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐ อาจารย์ในมหาวิทยาลัย รัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย
เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ อาจารย์ในสถานศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหาร - ผู้บริหารระดับสูงในองค์กรภาครัฐและเอกชน
- ผู้บริหารในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน และองค์การไม่แสวงหาผล
- กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Education (Educational
Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ed.D. (Educational Administration)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน เอกสารสื่อ และตําราเรียนในรายวิชาของหลักสูตรมีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางด้านบริหารการศึกษา สร้างและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรรวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทย ทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร และมีการผลิตบัณฑิตที่มีดำเนินการโดยร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยการศึกษา ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นไปตามเกณฑ์ของคุรุสภา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๑
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบด้วย
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางการบริหารการศึกษาไปประกอบอาชีพ
- อิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนาวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Philosophy, Religions and
Cultures
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Philosophy, Religions and
Cultures)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Philosophy, Religions and Cultures)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
123 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่เนUนการศึกษาแนวคิดทางปรัชญา ทั้งในแง่ของสาขาปรัชญาบริสุทธิ์และสาขาปรัชญาประยุกต์ที่เข้ากับยุคสมัยเพื่อใช้ในการคิดวิเคราะห์หาวิธีการแก้ไขปัญหาสังคมปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาแนวคําสอนทางศาสนา ทั้งในแง่หลักวิชาการและหลักปฏิบัติเพื่อบูรณาการปรับใช้ในวิถีชีวิตปัจจุบัน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาหลักการทางวัฒนธรรม ทั้งในแง่ของทฤษฎีและลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทย
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการ ด้านปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวง เช่น พนักงานกรมการศาสนา พนักงานสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
- นักวิชาการศาสนาในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักเผยแผ่พระพุทธศาสนา นักพัฒนาสังคม
- อนุศาสนาจารย์
- ศาสนทายาท/สนองงานคณะสงฆ์/พระธรรมทูต
- อาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for
Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาที่ใช้การจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับเอกสารและตําราเรียนในวิชาของหลักสูตร มีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) โดยใช้หลัก Spiral Curriculumและเป็นแบบ Outcome-based Curriculum เน้นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม(Learner- centered Curriculum) คือ การจัดหลักสูตรโดยเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ทุกประเภทเข้าด้วยกันในแผนการจัดหลักสูตร เน้นการจัดเนื้อหาสาระให้เกี่ยวข้องกัน เชื่อมโยงความหมายและหลากหลายระดับ คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญในการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมสมรรถนะที่เป็นจุดเน้นของมหาวิทยาลัยด้าน GA6 มุ่งมั่นสู่ การพัฒนา ตามความสนใจของผู้เรียน
- การเพิ่มวิชาเลือกทางพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้มีรายวิชาที่หลากหลายและทันสมัย ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เรียน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐ เชน่ นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิชาการพัฒนาชุมชน (พัฒนากร) และนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงต่าง ๆ เช่น นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป และ นักประชาสัมพันธ์ 5.3 พนักงานของเอกชน เชน่ มัคคุเทศก์ศิลปวัฒนธรรม ล่ามแปลภาษา
- อาชีพอิสระ เช่น นักสร้างแรงบันดาลใจ Content CreatorและBlogger
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in English
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดกาเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของไทย ตลอดจนความสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาได้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างเหมาะสม
- ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้คู่คุณธรรมและเป็นพลเมืองโลกที่ดี
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พนักงานในสถานประกอบการที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น งานประชาสัมพันธ์ งานต้อนรับ งานพิธีกรและงานเขียนบทโฆษณา
- พนักงานในหน่วยงานราชการที่ใช้ภาษาอังกฤษ เช่น กระทรวงการต่างประเทศ สถานกงสุล กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ท่าอากาศยาน สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง
- นักวิชาการ/นักวิจัยทางด้านภาษาอังกฤษ
- นักแปลภาษาอังกฤษอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอกเดี่ยว
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Social Work Program in Social Work
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : สส.บ. (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Social Work (Social Work)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.S.W. (Social Work) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
147 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ได้แก่ กลุ่มรายวิชาปรัชญาและทฤษฎีทางสังคมสงเคราะห์ และ
พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ประยุกต์ กลุ่มรายวิชาวิธีวิเคราะห์ กลุ่มรายวิชาวิธีการปฏิบัติงานตรง การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม กลุ่มรายวิชาการฝึกภาคปฏิบัติทางสังคมสงเคราะห์
- การเรียนการสอนในหลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความรู้ด้านสังคมสงเคราะห์อย่างถูกต้อง (ความรู้)
- จัดการเรียนการสอนเพื่อเน้นให้ผู้เรียนมี 3Rs 8Cs ซึ่งเป็นคุณลักษะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักสังคมสงเคราะห์ / นักพัฒนาสังคม / พัฒนากร / พัฒนาชุมชน / พนักงานคุมประพฤติ / เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ / นักทัณฑวิทยา / นักวิชาการยุติธรรม
- เจ้าหน้าที่บุคคล / เจ้าหน้าที่พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- นักวิชาการ / นักวิจัย / นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- นักบริหาร / เจ้าหน้าที่บริหาร ฯลฯ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Administration Program in Public
Administration
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : รป.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Public Administration (Public
Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.P.A. (Public Administration)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
- แสดงออกถึงความเป็นผู้มีธรรมาภิบาล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- มีทักษะ เป็นพลเมืองที่ดี คิดสร้างสรรค์ต่อสังคม มีความสามารถทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล สามารถนําหลักธรรมทางศาสนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร
- จัดการข้อมูล สารสนเทศด้วยเทคนิคและเครื่องมือสมัยใหม่เพื่อการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน
- อธิบายและยกตัวอย่างหลักการ แนวคิด และทฤษฏีทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้องตามบริบทของแต่ละองค์กร
- แสดงออกซึ่งทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขและการนําเสนอผลงานด้วยวาจาและสื่ออิเล็กทรอนิกส์
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พระสังฆาธิการและผู้สนองงานคณะสงฆ์
- เจ้าหน้าที่ขององค์การภาครัฐ
- ข้าราชการทหาร/ตำรวจ
- นักทรัพยากรบุคคล
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- ผู้บริหารท้องถิ่น นักการเมือง
- พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล, ปลัดเทศบาล
- เจ้าหน้าที่ในองค์การมหาชนและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
- นักวิจัยตามสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันวิจัยต่าง ๆ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Early Childhood
Education
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Early Childhood Education)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Early Childhood Education) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
- แสวงหา วิเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ที่สำคัญเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย
- พัฒนาและใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21
- ประยุกต์ศาสตร์การสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
- มีการบูรณาการความรู้ในการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
- มีมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสา และจรรยาบรรณทางวิชาชีพครูปฐมวัย ให้เป็นไปตามสมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ประกอบอาชีพเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูสอนระดับการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
- องค์กรที่สนับสนุนส่งเสริมทางการศึกษา
- สามารถจัดกิจกรรมให้กับภาครัฐและเอกชนเพื่อเป็นการเติมเต็มอาชีพได้อีก
- ผู้นำทางการศึกษาปฐมวัย/นักวิชาการอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Buddhism
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนพระพุทธศาสนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนพระพุทธศาสนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Buddhism)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Buddhism) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
- มีความรู้ความสามารถในศาสตร์ทางพระพุทธศาสนา สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง
- มีทักษะในการสอนพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา สามารถประยุกต์ใช้เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและหรือประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องตามบริบทของสถานศึกษา
- มีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพครู ประพฤติตนดีงาม เหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดี และมีความรับผิดชอบ
- มีภาวะผู้นํา ไฝ่รู้ไฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์และมีจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่เปลี่ยนแปลงได้
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- บุคลากรทางการศึกษา
- นักวิชาการการศึกษา
- นักวิชาการทางพระพุทธศาสนา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Thai
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Thai)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Thai) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ด้านหลักการสอนภาษาไทย วรรณคดีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครูได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- สามารถสื่อสารภาษาไทย ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน รวมทั้งสามารถผลิตสื่อการสอนทางภาษาไทยโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้
- บูรณาการศาสตร์การสอนเข้ากับวิชาเอกภาษาไทย และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยพุทธบูรณาการได้อย่างมืออาชีพ
- มีจิตอาสา มีความคิดสร้างสรรค์ หมั่นแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมอยู่เสมอ
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาไทยในสถานบันการศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- นักวิจัยทางด้านการศึกษาภาษาและการสอนภาษาไทย
- ผู้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนา และบริการทางการศึกษา
- นักวิชาการทางด้านหลักสูตร และเทคนิควิทยาการสอน
- นักวิชาชีพทางการศึกษาทั้งใน และนอกสถานศึกษา
- นักวิชาการ และนักวิจัย
- ประกอบอาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching English - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์และวิธีการสอนภาษาอังกฤษ กระบวนการวิจัย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และปรับเปลี่ยนหลักแนวคิดและทฤษฎีการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตามบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม การทําวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีความเป็นพลโลก
- มีทักษะการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในการจัดการเรียนรู้ และการวัดการประเมินผลทางการศึกษา
- มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู จิตวิญาณความเป็นครู ตระหนักถึงคุณค่าสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเป็นผู้นําในการพัฒนาคนบนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาอังกฤษของภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการด้านการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- บุคลากรทางการศึกษา
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Social Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Social Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Social Studies) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ในศาสตร์การสอนสังคมศึกษา นําความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าเหมาะสม
- มีทักษะด้านการสอนสังคมศึกษา และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ในการปฏิบัติวิชาชีพครู
- มีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการสอน และจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีภาวะความเป็นผู้นํา การทำงานเป็นทีม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนสังคมศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา
- นักวิชาการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- นักสันติศึกษาทางสังคมและศาสนาวัฒนธรรม
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ภาษาอังกฤษ : Graduate Diploma Program in Teaching Profession
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ป. บัณฑิต (วิชาชีพครู)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Graduate Diploma (Teaching Profession)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Grad. Dip. (Teaching Profession) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
33 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
เป็นนักศึกษาไทยที่ผ่านการคัดเลือกตามกระบวนการของคณะกรรมการประจำหลักสูตร 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
- เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตร สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถาบันสถาศึกษาที่ผ่านการประเมินของ สพฐ. รอบ 3 ขึ้นไป
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพเฉพาะด้าน สาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูนี้ได้กำหนดให้นักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกอบรม คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติธรรมกรรมฐานของมหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 15 วัน หรือตามที่หลักสูตรกำหนด จึงจะถือว่าได้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และเป็นหลักสูตรที่่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกรูปแบบที่ ทันสมัย ในการจัดการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน มีประมวลผลโดยใช้ AI พัฒนาสื่อด้วย Canva ทวนสอบการสอนด้วย Chat GPT โปรแกรมอื่น ๆ ที่ทันสมัยนิยม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่ ก.พ. รับรอง และเป็นผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ ครูหรือปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการสอนในสถานศึกษาและมีสัญญาจ้างงานจากสถานศึกษาเท่านั้น
- เป็นครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และการศึกษาพิเศษ หรือได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในวิชาใดวิชาหนึ่งต่อไปนี้ ปฐมวัยศึกษา ประถมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ โดยมีหนังสือสัญญาจ้างให้เป็นครูผู้สอน หรือ หนังสือรับรองปฏิบัติการสอนจากต้นสังกัด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือ บุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ผู้สมัครเข้าศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามข้อ ๑.๑ ข้อ ๑.๒ และได้รับการรับรองว่าเป็นผู้มีความ ประพฤติดีจากต้นสังกัด ทั้งนี้ให้มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่คุรุสภากำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ การงานอาชีพ การศึกษานอกระบบ บุคลากรทางการศึกษา และการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน
- เป็นครูปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการสอนในสถานศึกษา
- นักวิจัยทางการศึกษา และนักวิชาการทางการศึกษาในสถานศึกษา
- ประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เนื่องด้วยวิชาชีพครู ของศาสตร์สาขาวิชานั้นๆ
- เป็นนักวิชาการอิสระ และนักฝึกอบรม
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.ม. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
- เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตรสนับสนุนให้นักศึกษาไปทําวิจัยหรือ ดูงานในสถานประกอบการต่าง ๆ เป็นต้น
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
- มีความรู้รอบด้านอย่างลึกซึ้งในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถบูรณาการองค์ความรู้กับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมตามหลักพุทธธรรมและตอบสนองต่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
- มีทักษะการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยการวิจัยที่มีคุณภาพในด้านพุทธศาสตร์ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแผ่หลักธรรม รวมถึงการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์
เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีภาวะผู้นําที่มุ่งเน้นความรับผิดชอบต่อสังคม โดยใช้หลักพุทธธรรมเป็นแนวทางในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชน
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในบริบทระดับนานาชาติ เพื่อสร้างความร่วมมือในเครือข่ายวิชาการและการพัฒนาสังคมที่ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- ผู้สมัคร แผน 1 ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องทําวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้มหรือเทียบเท่าในกรณีที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการประสบการณ์การทำงานความรู้และความสามารถทั้งนี้ต้องมีแต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.30
- ผู้สมัครต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพระพุทธศาสนาต้องศึกษารายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 รายวิชา (6 หน่วยกิต)
- ผู้สมัครต้องเข้าสัมมนาตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- รับราชการในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- เป็นนักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- เป็นผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ประกอบการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Master of Political Science Program in Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ม. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
42 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
ใช้การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นหลัก โดยอาจมีเอกสารและตําราเป็นภาษาอังกฤษบางรายวิชา
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ตอบโจทย์ผู้ที่ต้องการพัฒนาความรู้และทักษะด้านรัฐศาสตร์อย่างรอบด้าน
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนพัฒนาองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองและให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตกับคนทุกช่วงวัย โดยไม่จํากัดเฉพาะศาสตร์ด้านรัฐศาสตร์เพียงอย่าง
- เน้นผสานองค์ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกิดจากทั้งประสบการณ์ทางวิชาชีพ และวิชาการ ทักษะต่าง ๆ เชื่อมโยงกับหลักพระพุทธศาสนาด้วยเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ตามยุคสมัย
- หลักสูตรดำเนินการสร้างเครือข่ายทางวิชาการและวิชาชีพด้านรัฐศาสตร์และองค์กรทางศาสนา
- พัฒนาทักษะผู้เรียนให้เกิดการผสานความรู้ทางรัฐศาสตร์และพระพุทธศาสนา
- เน้นการศึกษาปฏิบัติและศึกษาดูงานจากของจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองการมีเหตุผลในการแก้ไขปัญหา การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง
- ส่งเสริมให้เกิดความคิดและความประพฤติที่มีคุณธรรม คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติ จนเกิดเป็นลักษณะนิสัยเป็นที่เคารพและน่าเชื่อถือ และนําไปสู่การคิดเชิงวิพากษ์ในการค้นคว้าวิจัย และผลงานทางวิชาการที่เกิดประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและสังคมโดยรวมในทุกมิติ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
- มีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
- ในกรณีที่เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือมีความรู้ และความสามารถที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
- กรณีที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ต้องมีใบรับรองการเทียบวุฒิจาก ก.พ. และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นชอบ
- สำเร็จการศึกษาจากการศึกษาคณะสงฆ์ไทย เปรียญธรรม 9 ประโยค
- สำหรับผู้ที่ไม่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ต้องเข้ารับการอบรมเพื่อเตรียมพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม
- คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1-7 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานในองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือการ
ประกอบอาชีพอิสระ ทั้งสำหรับผู้ที่เป็นบรรพชิต และคฤหัสถ์ ดังนี้
- บรรพชิตสามารถปฏิบัติงานตำแหน่งต่าง ๆ ในองค์กรคณะสงฆ์ได้แก่ พระสังฆาธิการเจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่
พระนักพัฒนาอาจารย์และนักวิชาการในมหาวิทยาลัยทางพุทธศาสนา - องค์การภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ นักปกครองระดับกลางและระดับสูง ปลัดอำเภอตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง นักพัฒนาชุมชน
- องค์การภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน
- องค์กรอิสระ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ สำนักงานสหประชาชาติ(UN) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
- ภาคประชาสังคมต่าง ๆ องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร (NGOs) เครือข่ายองค์กรชุมชน
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม
ภาษาอังกฤษ : Master of Social Work in Social Work and Social Welfare
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
(สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ม. (สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master Degree of Social Work (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.S.W (Social Work and Social Welfare)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
48 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์มีความรู้ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ ริเริ่ม สร้างสรรค์ และสามารถแก้ไขปัญหาสังคมที่ประสบอยู่อย่างมีเหตุผล มีจริยธรรม และไม่ใช้ความรุนแรง เคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชนและสิทธิการเข้าถึงสวัสดิการสังคมของทุกภาคส่วน การรับใช้สังคมและการสร้างสำนึกในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยบูรณาการพุทธศาสตร์และเทคโนโลยีกับวิชาชีพสังคมสงเคราะห์การบริหารนโยบายสวัสดิการสังคมและสหวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2563 หรือเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยว่าด้วย
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ประกาศใช้ล่าสุด
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- ในกรณีผู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 2.50 และมีประสบการณ์การทำงานที่สอดคล้อง
กับหลักสูตรสาขาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรอาจรับสมัครเข้าศึกษาได้โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำคณะสังคมศาสตร์
- ผู้สมัครต้องมีความรู้ทางด้านภาษาต่างประเทศ และมีผลการสอบภาษาอังกฤษโดยผ่าน
การทดสอบตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด หรือเป็นไปตามที่สภาสถาบันกำหนด
- คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1-4 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักสังคมสงเคราะห์/นักพัฒนาชุมชน/นักพัฒนาสังคม
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าหน้าที่บุคคล / เจ้าหน้าที่พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- นักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรไม่แสวงหาผลกําไรและในองค์กรอิสระในภาครัฐ เช่น
ศาลเยาวชนและครอบครัว เป็นต้น - ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และ
สวัสดิการสังคมไปประกอบอาชีพอิสระได้ เช่น ผู้บริหารในองค์กรภาครัฐและเอกชน
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Educational Administration) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
45 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จําแนกตามแผนการศึกษา ดังนี้
แผน 1 วิชาการ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเขSาศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
แผน 2 วิชาชีพ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ผู้ประกอบการสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา หรือ นักการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- นักวิจัยที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- บุคลากรที่สังกัดในหน่วยงานทั่วไป ที่นําความรู้การบริหารการศึกษาไปประยุกต์ใช้
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Teaching Thai Language - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (สาขาวิชาการสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Teaching Thai Language)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Teaching Thai Language) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
กลุ่มที่ 1 ไม่ประสงค์ขอรับใบประกอบวิชาชีพครู แบ่งเป็น 2 แผน
- แผน ก แบบ ก2 ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- แผน ข ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 2 ประสงค์สอบขอรับใบประกอบวิชาชีพครู แบ่งเป็น 1 แผน
- แผน ก แบบ ก2 ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก2 / แผน ข
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ผ่านเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยกําหนด
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติทั่วไป
มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับในบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 และต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
คุณสมบัติเฉพาะ
แผน ก แบบ ก 2
กลุ่มที่ 1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาทางการศึกษา
(ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตวิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท
กลุ่มที่ 2 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาที่ไม่ใช่ทางการศึกษา
(ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทยหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท
แผน ข
(ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตวิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโทหมายเหตุในกรณีที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาอื่น ๆ นอกเหนือจากข้างต้นต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำหลักสูตร
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นครูผู้สอนวิชาภาษาไทยในสถานศึกษาของรัฐบาลและเอกชน
- เป็นนักวิชาการศึกษา
- เป็นศึกษานิเทศก์
- เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
- เป็นนักวิชาการอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Liberal Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศน.ด. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy
(Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
54 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความรู้ลึกซึ้งในพุทธ
ศาสตร์เพื่อการพัฒนา รวมถึงสามารถบูรณาการองค์ความรู้จากศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนองความท้าทายและความต้องการของสังคมในระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ส่งเสริมการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีทักษะในการวิจัย
- การคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน โดยสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับชุมชน สังคม และระดับโลก รวมถึงการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์เพื่อการเผยแผ่องค์ความรู้ด้านพุทธศาสตร์
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความยึดมั่นใน
คุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพ พร้อมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตน โดยใช้หลักพุทธธรรมเป็นกรอบในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกําหนดกรอบมาตรฐานทางด้านคุณธรรมจริยธรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 คือ “กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา”
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความเป็นผู้นําทาง
ความคิดที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะในการพัฒนาชุมชนและสังคมพร้อมทั้งมีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และเป็นพลเมืองโลกที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและยั่งยืน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ.รับรองหรือคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา ต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือตามเหมาะสมโดยให้ยึดมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นที่สิ้นสุด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม
- คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1 – 5 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการและอาจารย์มหาวิทยาลัย (Academic and University Lecturer)
- นักวิจัยและนักพัฒนานโยบาย (Researcher and Policy Developer)
- ที่ปรึกษาด้านศาสนาและการพัฒนา (Religious and Development
- นักพัฒนาสังคมและชุมชน (Community and Social Developer)
- นักบริหารองค์กรทางศาสนา (Religious Organization Administrator)
- วิทยากรและนักบรรยาย (Speaker and Educator)
- ผู้นําทางศาสนาและนักเผยแผ่ธรรม (Religious Leader and Preacher)
- นักพัฒนาองค์กร (Organizational Developer)
- นักสื่อสารและผู้ผลิตสื่อด้านศาสนา (Religious Media Specialist)
- นักวิเคราะห์และนักประเมินโครงการทางศาสนาและสังคม (Religious and Social
- นักวิชาการนานาชาติด้านพุทธศาสตร์ (International Buddhist Scholar)
- นักพัฒนานวัตกรรมด้านพุทธศาสตร์ (Buddhist Innovation Developer)
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science Program in Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ด. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : D.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
54 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แผน 2 แบบ 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยเป็นหลัก โดยอาจมีเอกสาร และต่ำราเป็นภาษาอังกฤษบางรายวิชา
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางรัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักรัฐศาสตร์
มีทักษะของนักปกครองตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร รวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา
ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ.รับรองหรือคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์และพุทธศาสตร์ต้องศึกษารายวิชา
ปรับพื้นฐานไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือตามเหมาะสมโดยให้ยึดมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นที่สิ้นสุด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา
หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม - คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1 – 5 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐ อาจารย์ในมหาวิทยาลัย รัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย
เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ อาจารย์ในสถานศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหาร - ผู้บริหารระดับสูงในองค์กรภาครัฐและเอกชน
- ผู้บริหารในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน และองค์การไม่แสวงหาผล
- กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Teaching Thai Language
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ด. (การสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Education (Teaching Thai Language)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Teaching Thai Language) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
69 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แบบ 1.1 / แบบ 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ผ่านเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยกำหนด
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
- มีความรู้ลึก รู้รอบ และสามารถสร้างความรู้ในศาสตร์ด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทยในระดับต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติงานด้านการสอนภาษาไทย อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เป็นผู้นําในการแก้ปัญหาและการแสวงหาแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาการสอนภาษาไทยที่มีคุณภาพ มีภาวะผู้นําทางวิชาการ สามารถวิเคราะห์วิพากษ์ประเด็น และแนวโน้มทางด้านการสอนภาษาไทย
- สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในด้านการสอนภาษาไทย และสามารถเผยแพร่นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านการสอนภาษาไทยให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ
- ผลิตงานวิจัยและสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านหลักสูตรและการเรียนการสอนภาษาไทย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาวิชาชีพ และการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
- 1.3.4 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
คุณสมบัติผู้สมัคร
แบบ 1.1
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาภาษาไทย การสอนภาษาไทยวรรณคดี คติชนวิทยา ภาษาศาสตร์ หรือสาขาที่สัมพันธ์ หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย พิจารณาเห็นว่ามีความเหมาะสม และมีผลงานวิชาการหรืองานวิจัยที่มีคุณภาพดี (ไม่นับดุษฎีนิพนธ์หรืองานวิชาการที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา) หรือมีต่ำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป (สำหรับอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา) มีวิทยฐานะระดับชํานาญการพิเศษขึ้นไป (สำหรับครู ศึกษานิเทศก์หรือบุคลากรทางการศึกษา)
- มีโครงร่างวิจัยที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ เห็นว่าเหมาะสม และมีประโยชน์ต่อการศึกษา มคอ. 2 หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ 2564 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก
- คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป หรือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้
แบบ 2.1
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาภาษาไทย การสอนภาษาไทยวรรณคดี คติชน ภาษาศาสตร์ หรือสาขาที่สัมพันธ์ หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย พิจารณาเห็นว่ามีความเหมาะสม
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก
- คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป หรือ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นผู้สอนในระดับอุดมศึกษาและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เป็นนักศึกษานิเทศก์ด้านการสอนภาษาไทย
- เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและการสอนภาษาไทย
- เป็นบุคลากรทางการศึกษา
- เป็นนักวิชาการอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Education (Educational
Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ed.D. (Educational Administration)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน เอกสารสื่อ และต่ำราเรียนในรายวิชาของหลักสูตรมีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางด้านบริหารการศึกษา สร้างและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรรวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทย ทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร และมีการผลิตบัณฑิตที่มีดำเนินการโดยร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยการศึกษา ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นไปตามเกณฑ์ของคุรุสภา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๑
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบด้วย
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางการบริหารการศึกษาไปประกอบอาชีพ
- อิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนาวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for
Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาที่ใช้การจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับเอกสารและตําราเรียนในวิชาของหลักสูตร มีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) โดยใช้หลัก Spiral Curriculumและเป็นแบบ Outcome-based Curriculum เน้นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม(Learner- centered Curriculum) คือ การจัดหลักสูตรโดยเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ทุกประเภทเข้าด้วยกันในแผนการจัดหลักสูตร เน้นการจัดเนื้อหาสาระให้เกี่ยวข้องกัน เชื่อมโยงความหมายและหลากหลายระดับ คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญในการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมสมรรถนะที่เป็นจุดเน้นของมหาวิทยาลัยด้าน GA6 มุ่งมั่นสู่ การพัฒนา ตามความสนใจของผู้เรียน
- การเพิ่มวิชาเลือกทางพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้มีรายวิชาที่หลากหลายและทันสมัย ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เรียน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐ เชน่ นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิชาการพัฒนาชุมชน (พัฒนากร) และนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงต่าง ๆ เช่น นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป และ นักประชาสัมพันธ์ 5.3 พนักงานของเอกชน เชน่ มัคคุเทศก์ศิลปวัฒนธรรม ล่ามแปลภาษา
- อาชีพอิสระ เช่น นักสร้างแรงบันดาลใจ Content CreatorและBlogger
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in English
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดกาเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของไทย ตลอดจนความสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาได้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างเหมาะสม
- ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้คู่คุณธรรมและเป็นพลเมืองโลกที่ดี
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- พนักงานในสถานประกอบการที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น งานประชาสัมพันธ์ งานต้อนรับ งานพิธีกรและงานเขียนบทโฆษณา
- พนักงานในหน่วยงานราชการที่ใช้ภาษาอังกฤษ เช่น กระทรวงการต่างประเทศ สถานกงสุล กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ท่าอากาศยาน สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง
- นักวิชาการ/นักวิจัยทางด้านภาษาอังกฤษ
- นักแปลภาษาอังกฤษอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอกเดี่ยว
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Thai
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Thai)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Thai) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ด้านหลักการสอนภาษาไทย วรรณคดีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครูได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- สามารถสื่อสารภาษาไทย ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน รวมทั้งสามารถผลิตสื่อการสอนทางภาษาไทยโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้
- บูรณาการศาสตร์การสอนเข้ากับวิชาเอกภาษาไทย และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยพุทธบูรณาการได้อย่างมืออาชีพ
- มีจิตอาสา มีความคิดสร้างสรรค์ หมั่นแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมอยู่เสมอ
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาไทยในสถานบันการศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
- นักวิจัยทางด้านการศึกษาภาษาและการสอนภาษาไทย
- ผู้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนา และบริการทางการศึกษา
- นักวิชาการทางด้านหลักสูตร และเทคนิควิทยาการสอน
- นักวิชาชีพทางการศึกษาทั้งใน และนอกสถานศึกษา
- นักวิชาการ และนักวิจัย
- ประกอบอาชีพอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching English - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching English)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching English) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์และวิธีการสอนภาษาอังกฤษ กระบวนการวิจัย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และปรับเปลี่ยนหลักแนวคิดและทฤษฎีการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา
- มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตามบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม การทําวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีความเป็นพลโลก
- มีทักษะการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในการจัดการเรียนรู้ และการวัดการประเมินผลทางการศึกษา
- มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู จิตวิญาณความเป็นครู ตระหนักถึงคุณค่าสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเป็นผู้นําในการพัฒนาคนบนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนภาษาอังกฤษของภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการด้านการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- บุคลากรทางการศึกษา
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Social Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Social Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Social Studies) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ในศาสตร์การสอนสังคมศึกษา นําความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าเหมาะสม
- มีทักษะด้านการสอนสังคมศึกษา และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ในการปฏิบัติวิชาชีพครู
- มีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการสอน และจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีภาวะความเป็นผู้นํา การทำงานเป็นทีม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนสังคมศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา
- นักวิชาการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- นักสันติศึกษาทางสังคมและศาสนาวัฒนธรรม
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhism and Philosophy
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhism and Philosophy)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhism and Philosophy) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่บูรณาการศาสตร์ทางพุทธศาสนาและปรัชญา และเป็นแบบ Outcome-based curriculum
- เป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกําหนดกรอบมาตรฐานทางด้านคุณธรรมจริยธรรม ที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 คือ “กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา”
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมพัฒนาปัญญาและคุณธรรมที่เป็นจุดเน้นของสถาบันด้านการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมและส่งเสริมศักยภาพตามความสนใจของผู้เรียน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์หลักพุทธศาสนาและปรัชญาเพื่อสร้างนวัตกรรม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรอง และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
- หากนักศึกษาไม่มีพื้นฐานความรู้ทางพุทธศาสนาและปรัชญาในระดับปริญญาตรี นักศึกษาต้องศึกษาเพิ่มเติมในรายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นผู้เผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนาและปรัชญาในระดับชาติและนานาชาติ
- เป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการ
- เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐในสำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักวิชาการอิสระ
- เป็นวิทยากรอบรมด้านพุทธศาสนาและปรัชญา
- เป็นนักเขียนและผู้ผลิตงานด้านพุทธศาสนาและปรัชญา
- ใช้ร่วมกับทุกอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพอยู่ก่อน
วิทยาเขตที่เปิดสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตล้านนา
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Educational Administration) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
45 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จําแนกตามแผนการศึกษา ดังนี้
หลักสูตรแบบแผน 1 วิชาการ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเขSาศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
หลักสูตรแบบแผน 2 วิชาชีพ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ผู้ประกอบการสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา หรือ นักการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- นักวิจัยที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- บุคลากรที่สังกัดในหน่วยงานทั่วไป ที่นําความรู้การบริหารการศึกษาไปประยุกต์ใช้
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhism and Philosophy
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ปร.ด. (พุทธศาสนาและปรัชญา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Buddhism and Philosophy)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhism and Philosophy) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
57 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แผน 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและต่างประเทศที่ อ่าน เขียน ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
- วิเคราะห์หลักพุทธศาสนาและปรัชญา ในการปรับใช้กับการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
- ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาและปรัชญา ควบคู่คุณธรรมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการรับใช้สังคม
- บูรณาการหลักพุทธศาสนาและปรัชญากับศาสตร์สมัยใหม่ ในรูปแบบส่งเสริมสังคมให้มีความสงบสุข
- สร้างองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมทางพุทธศาสนาและปรัชญา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรอง และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.5 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- ผู้สมัครต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
- ผู้สมัครต้องเคยศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทที่มีการทำวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- เจ้าที่ของรัฐในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- นักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- ผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ร่วมกับทุกอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพอยู่ก่อน
- ใช้เป็นฐานการดำเนินชีวิตของคนในสังคมที่ประกอบอาชีพอื่น ๆ
- รับราชการทหาร อนุศาสนาจารย์
วิทยาเขตที่เปิดสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Education (Educational
Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ed.D. (Educational Administration)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน เอกสารสื่อ และตําราเรียนในรายวิชาของหลักสูตรมีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางด้านบริหารการศึกษา สร้างและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรรวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทย ทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร และมีการผลิตบัณฑิตที่มีดำเนินการโดยร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยการศึกษา ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นไปตามเกณฑ์ของคุรุสภา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๑
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบด้วย
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางการบริหารการศึกษาไปประกอบอาชีพ
- อิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนาวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for
Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาที่ใช้การจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับเอกสารและตําราเรียนในวิชาของหลักสูตร มีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) โดยใช้หลัก Spiral Curriculumและเป็นแบบ Outcome-based Curriculum เน้นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม(Learner- centered Curriculum) คือ การจัดหลักสูตรโดยเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ทุกประเภทเข้าด้วยกันในแผนการจัดหลักสูตร เน้นการจัดเนื้อหาสาระให้เกี่ยวข้องกัน เชื่อมโยงความหมายและหลากหลายระดับ คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญในการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมสมรรถนะที่เป็นจุดเน้นของมหาวิทยาลัยด้าน GA6 มุ่งมั่นสู่ การพัฒนา ตามความสนใจของผู้เรียน
- การเพิ่มวิชาเลือกทางพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้มีรายวิชาที่หลากหลายและทันสมัย ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เรียน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา
- สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องผ่านเกณฑ์ภาษาไทยตามที่หลักสูตรกำหนดหรือเทียบเท่า
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐ เชน่ นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิชาการพัฒนาชุมชน (พัฒนากร) และนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
- ข้าราชการและพนักงานของรัฐในกระทรวงต่าง ๆ เช่น นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป และ นักประชาสัมพันธ์ 5.3 พนักงานของเอกชน เชน่ มัคคุเทศก์ศิลปวัฒนธรรม ล่ามแปลภาษา
- อาชีพอิสระ เช่น นักสร้างแรงบันดาลใจ Content CreatorและBlogger
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Political
Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.บ. (รัฐศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Political Science (Political Science)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Pol.Sc. (Political Science) - วิชาเอกเดี่ยว
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
134 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- ผ่านการฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้ในสถานที่จริง
- พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในยุคดิจิทัล
- การเรียนเน้นทฤษฎีและเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงด้านการเมือง การปกครองทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- ฝึกภาคสนามในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งเน้นการบูรณาการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตาม โครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ (ปลัดอำเภอ) นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ นักการทูตปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล ตำรวจ ทหารและอื่น ๆ
- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์
- เจ้าพนักงานในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชนและองค์การไม่แสวงหาผล
กําไร
- นักการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางรัฐศาสตร์ไปประกอบอาชีพอิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้างวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Social Studies
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Social Studies)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Social Studies) - วิชาเอก
ไม่มี
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
143 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- มีความรู้ในศาสตร์การสอนสังคมศึกษา นําความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าเหมาะสม
- มีทักษะด้านการสอนสังคมศึกษา และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ในการปฏิบัติวิชาชีพครู
- มีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการสอน และจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีภาวะความเป็นผู้นํา การทำงานเป็นทีม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
- ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ
- เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ครูสอนสังคมศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา
- นักวิชาการศึกษา
- พนักงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
- นักสันติศึกษาทางสังคมและศาสนาวัฒนธรรม
- ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Educational Administration) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
45 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน 1 แบบวิชาการ / แผน 2 แบบวิชาชีพ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จําแนกตามแผนการศึกษา ดังนี้
แผน 1 วิชาการ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเขSาศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
แผน 2 วิชาชีพ
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 11
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ผู้ประกอบการสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา หรือ นักการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- นักวิจัยที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- บุคลากรที่สังกัดในหน่วยงานทั่วไป ที่นําความรู้การบริหารการศึกษาไปประยุกต์ใช้
วิทยาเขตที่เปิดสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนา
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.ม. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.A. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
36 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
- เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
- เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น เช่น หลักสูตรสนับสนุนให้นักศึกษาไปทำวิจัยหรือ ดูงานในสถานประกอบการต่าง ๆ เป็นต้น
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
- มีความรู้รอบด้านอย่างลึกซึ้งในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถบูรณาการองค์ความรู้กับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมตามหลักพุทธธรรมและตอบสนองต่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
- มีทักษะการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยการวิจัยที่มีคุณภาพในด้านพุทธศาสตร์ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแผ่หลักธรรม รวมถึงการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์
เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีภาวะผู้นําที่มุ่งเน้นความรับผิดชอบต่อสังคม โดยใช้หลักพุทธธรรมเป็นแนวทางในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชน
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในบริบทระดับนานาชาติ เพื่อสร้างความร่วมมือในเครือข่ายวิชาการและการพัฒนาสังคมที่ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- ผู้สมัคร แผน 1 ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องทําวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 แต้มหรือเทียบเท่าในกรณีที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการประสบการณ์การทำงานความรู้และความสามารถทั้งนี้ต้องมีแต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.30
- ผู้สมัครต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพระพุทธศาสนาต้องศึกษารายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 รายวิชา (6 หน่วยกิต)
- ผู้สมัครต้องเข้าสัมมนาตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม และมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
- รับราชการในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- เป็นนักวิชาการอิสระ
- เป็นพระสังฆาธิการในระดับบริหาร
- เป็นผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
- ใช้ประกอบการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Master of Social Work in Social Work and Social Welfare - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
(สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.ม. (สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Arts (Buddhistic Sociology)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.S.W M.A. (Buddhistic Sociology)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบวิชาการ
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับเฉพาะนักศึกษาไทยและนักศึกษาชาวต่างประเทศที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- เป็นหลักสูตรที่บูรณาการศาสตร์ทางด้านพระพุทธศาสนาและสังคมวิทยาโดยมุ่งการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์(Outcome Based Education: OBE)
- เป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อก าหนดกรอบมาตรฐานทางด้านคุณธรรมจริยธรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 คือ “กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา”
- การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะเพื่อส่งเสริมพัฒนาปัญญาและคุณธรรมที่เป็นจุดเน้นของสถาบันด้านการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมและส่งเสริมศักยภาพตามความสนใจของผู้เรียน
- เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์หลักพุทธศาสนาและสังคมวิทยาเพื่อสร้างนวัตกรสังคม
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา
ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ.รับรองและคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศและได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50 จากระบบ 4 ค่าระดับคะแนน
- ในกรณีที่ผู้สมัครมีผลการศึกษาต่ำกว่า 2.50 ต้องมีประสบการณ์การท างานที่สอดคล้อง
กับหลักสูตรสาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ ติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจ าหลักสูตร
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาหรือ
มีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสมและมีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย
- หากนักศึกษาไม่มีพื้นฐานความรู้ทางพุทธศาสนาและสังคมวิทยาในระดับปริญญาตรี
นักศึกษาต้องศึกษาเพิ่มเติมในรายวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการและอาจารย์มหาวิทยาลัยด้านสังคมศาสตร์ พุทธศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
และสัมพันธ์
- รับราชการครู รับราชการในส่วนราชการต่าง ๆ
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- วิทยากรอิสระ
- อาชีพที่เกี่ยวข้องกับกิจการงานทางสังคมศาสตร์
- ใช้ร่วมกับทุกสาขาอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพก่อนนั้นแล้ว
- รับราชการในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Master of Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ม.
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Political Science
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Pol.Sc. - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
42 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
- มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์หลักการและวิธีการทางรัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนาในวิชาชีพรัฐศาสตร์
- มีความรอบรู้อย่างลุ่มลึกและมีประสบการณ์ทางด้านรัฐศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการนําไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ โดยอาศัยองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนาได้อย่างสร้างสรรค์
- รู้จักคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล สามารถวิพากษ์วิจารณ์บนพื้นฐานทางวิชาการให้เกิดองค์ความรู้และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
- เป็นผู้มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง องค์กร และสังคมโดยรวม
- มีความสามารถในการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์และสามารถเผยแพร่หลักทางรัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในด้านบริการวิชาการ หรือศิลปวัฒนธรรมไทยต่อสาธารณชน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ หรือปริญญาตรี สาขาวิชาอื่น หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยให้การรับรอง
- มีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50
- ผู้ที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับเป็นนักศึกษาได้โดยพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี
- ในกรณีที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาทางรัฐศาสตร์เพิ่มเติม ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- มีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ไม่เป็นโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
หมายเหตุ ผู้เข้าศึกษาจะต้องยื่นคะแนนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่คณะสังคมศาสตร์กำหนดก่อน
สำเร็จการศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
จบแล้วทำอาชีพอะไร
ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานในองค์กรคณะสงฆ์ สำหรับผู้ที่เป็นบรรพชิต และด้านการปกครอง ด้านวิชาการ บริหารนโยบายและแผนได้ทุกหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ บริษัทเอกชน และอื่น ๆ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่เป็นคฤหัสถ์ ดังนี้
- องค์กรคณะสงฆ์ ได้แก่ พระสังฆาธิการ สำนักงานพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีกร พระธรรมทูต พระนักเผยแผ่ พระนักพัฒนา มหาวิทยาลัยทางศาสนา
- องค์การภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ นักปกครองระดับกลางและระดับสูง ปลัดอำเภอ ตำรวจ ทหาร อนุศาสนาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาของรัฐ นักวิจัย นักการทูต นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาติ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง นักพัฒนาชุมชน
- องค์การภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักสื่อสารมวลชน
- องค์กรอิสระ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ องค์การไม่แสวงหากำไร
- องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ สำนักงานสหประชาชาติ (UN) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Teaching Thai Language - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาไทย)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ม. (สาขาวิชาการสอนภาษาไทย)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Education (Teaching Thai Language)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Ed. (Teaching Thai Language) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
กลุ่มที่ 1 ไม่ประสงค์ขอรับใบประกอบวิชาชีพครู แบ่งเป็น 2 แผน
- แผน ก แบบ ก2 ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- แผน ข ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 2 ประสงค์สอบขอรับใบประกอบวิชาชีพครู แบ่งเป็น 1 แผน
- แผน ก แบบ ก2 ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก2 / แผน ข
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นนภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ผ่านเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยกําหนด
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ วิชาการทางด้านบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมทางการศึกษา ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล
คุณสมบัติผู้สมัคร
คุณสมบัติทั่วไป
มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับในบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 และต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
คุณสมบัติเฉพาะ
แผน ก แบบ ก 2
กลุ่มที่ 1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาทางการศึกษา
(ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตวิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท
กลุ่มที่ 2 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาที่ไม่ใช่ทางการศึกษา
(ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทยหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท
แผน ข
(ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )
- สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตวิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
- จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี
- มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโทหมายเหตุในกรณีที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาอื่น ๆ นอกเหนือจากข้างต้นต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำหลักสูตร
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- เป็นครูผู้สอนวิชาภาษาไทยในสถานศึกษาของรัฐบาลและเอกชน
- เป็นนักวิชาการศึกษา
- เป็นศึกษานิเทศก์
- เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
- เป็นนักวิชาการอิสระ
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Education (Educational
Administration)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ed.D. (Educational Administration)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน เอกสารสื่อ และต่ำราเรียนในรายวิชาของหลักสูตรมีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางด้านบริหารการศึกษา สร้างและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของนักบริหารการศึกษา มีทักษะของนักวิชาการตามหลักธรรมาภิบาล สามารถพัฒนางาน พัฒนาอาชีพหรือวิชาการ พัฒนาตนและพัฒนาสังคมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัล โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรรวมทั้งมีการบรรยายรายวิชาทั้งภาคภาษาไทย ทบทวน ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษด้วยการวัดและ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร และมีการผลิตบัณฑิตที่มีดำเนินการโดยร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยการศึกษา ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นไปตามเกณฑ์ของคุรุสภา
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๑
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- ข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบด้วย
- ผู้บริหารการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษา
- ศึกษานิเทศก์
- นักวิชาการศึกษา
- นักประเมินคุณภาพการศึกษา
- อาจารย์มหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชนสาขาการบริหารการศึกษา
- ประกอบอาชีพอิสระที่นําความรู้ ความสามารถทางการบริหารการศึกษาไปประกอบอาชีพ
- อิสระได้
วิทยาเขตที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตล้านนาวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
วิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ร.ด.
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Political Science
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : D.Pol.Sc. - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แบบ 1.1 / แบบ 2.1
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- พัฒนานักวิชาการและนักวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์ที่สัมพันธ์กับพุทธศาสตร์และศาสตร์องค์
ความรู้อื่น ๆ สามารถพัฒนาองค์ความรู้และสามารถนําความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ในทาง
ปฏิบัติได้ เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายและทิศทางในการพัฒนาประเทศ โดยการเน้นคนเป็น
ศูนย์กลางในการพัฒนา
- พัฒนานักวิชาการและนักวิจัยทางรัฐศาสตร์ที่สัมพันธ์กับพุทธศาสตร์และศาสตร์องค์ความรู้อื่น ๆ โดยมีความรู้ด้านวิชาการรัฐศาสตร์ในแนวทางพุทธศาสนาเป็นส่วนประกอบสำคัญ เพื่อให้สามารถนําองค์ความรู้เหล่านี้ไปสู่การคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ ในการชี้แนะและการแก้ไขปัญหาสำคัญทางการเมืองการปกครองทั้งในสังคมไทยและสังคมโลก
- ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นนักวิชาการ นักวิจัยและผู้บริหารที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถบูรณาการวิชาการด้านรัฐศาสตร์ พุทธศาสตร์ และศาสตร์องค์ความรู้อื่น ๆ
เป็นทรัพยากรที่มีคุณธรรมจริยธรรมมีคุณภาพระดับสูง และมีภาวะผู้นําในทางด้านการเมืองการปกครอง
คุณสมบัติผู้สมัคร
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเท่าทางรัฐศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รับรอง หรือสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยรับรอง และได้รับคะแนนมีค่าเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโทไม่ต่ำกว่า ๓.๕ ในระบบ ๔ แต้ม หรือ
- มีเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์/งานวิจัยที่มีประเด็นครอบคลุมคือ
- หัวข้อดุษฎีนิพนธ์/งานวิจัย
– ความสำคัญของปัญหา
– คำถามวิจัย
– วัตถุประสงค์
– แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ศึกษา
– ระเบียบวิธีวิจัย - มีความรู้ภาษาต่างประเทศในระดับที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- ผ่านการพิจารณาคุณสมบัติที่กำหนด เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์หรืองานวิจัย การสอบสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และ/หรือการสอบข้อเขียนตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
จบแล้วทำอาชีพอะไร
ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานในองค์กรคณะสงฆ์ สำหรับผู้ที่เป็นบรรพชิต และด้านการปกครอง ด้านวิชาการ บริหารนโยบายและแผนได้ทุกหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระบริษัทเอกชน และอื่น ๆ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่เป็นคฤหัสถ์ ดังนี้
- องค์กรคณะสงฆ์ได้แก่ พระสังฆาธิการ สำนักงานพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีกร พระธรรมทูตพระนักเผยแผ่ พระนักพัฒนา มหาวิทยาลัยทางศาสนา
- องค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ อาจารย์ในมหาวิทยาลัย นักวิชาการ ข้าราชการ พนักงานท้องถิ่น ผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง อนุศาสนาจารย์นักวิจัย นักการเมืองท้องถิ่น นักการเมืองระดับชาตินักปกครองสังกัดกระทรวงมหาดไทย เจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- องค์การภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารบริษัท ผู้จัดการ ที่ปรึกษาอาวุโส กรรมการผู้จัดการ พนักงานธนาคาร พนักงานสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล นักสื่อสารมวลชน
- องค์กรอิสระ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติองค์การไม่แสวงหากําไรองค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ สำนักงานสหประชาชาติ(UN) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตศรีธรรมโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhistic Sociology
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ปร.ด. (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Buddhistic Sociology)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhistic Sociology) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 66 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับเฉพาะนักศึกษาไทยและนักศึกษาชาวต่างประเทศที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
- มีภาวะผู้น าทางวิชาการทางสังคมตามแนวพุทธศาสนาและมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับสังคมและคนรุ่นใหม่ของสังคมอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม (C+E)
- สังเคราะห์และคิดค้นความคิดรวบยอดทางสังคมวิทยาขึ้นใหม่อย่างเป็นเหตุเป็นผลสามารถประยุกต์ใช้และแก้ไขปัญหาทางสังคมอย่างเป็นระบบ (K)
- สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางสังคมใหม่ในการวิจัยให้กับสังคมและสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสมผ่านทางผลงานทางวิชาการ (K+C)
- มีทักษะชีวิต คิดอย่างมีเหตุผล ใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา กล้าเผชิญสถานการณ์ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและสามารถแก้ไขปัญหาส่วนตนและองค์กรได้เป็นอย่างดี (S)
- มีการบริหารข้อมูลดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจิตอาสาและพัฒนาสังคมตามแนวพุทธศาสตร์ (S+E)
คุณสมบัติผู้สมัคร
หลักสูตร แบบ ๑ (ฐานปริญญาโท เฉพาะดุษฎีนิพนธ์)
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนในระดับดีมาก โดยมีหน่วยกิตสะสมอย่างน้อย ๑๒ หน่วยกิต และมีค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ย ๓.๗๕ ขึ้นไป หรือมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป
- มีความรู้ภาษาอังกฤษตามผลสอบของ TOEFL ในระดับ≥ ๕๐๐ หรือ ผลสอบ IELTS ≥ ๕.๕ หรือ TEG ≥ ๖๕ หรือตามตามเกณฑ์และวิธีการตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์กำหนด
- คุณสมบัติอื่นใดให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ และให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙
หลักสูตร แบบ ๒ (ฐานปริญญาโท ศึกษากระบวนรายวิชาและดุษฎีนิพนธ์)
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดี หรือ
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหลักสูตรปริญญาโท และเรียนกระบวนรายวิชาต่าง ๆ ตามที่สาขาวิชากำหนดได้ผลดีเป็นพิเศษ โดยมีหน่วยกิตสะสมอย่างน้อย ๑๒ หน่วยกิต และมีค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ย ๓.๕๐ ขึ้นไป หรือมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป
- มีความรู้ภาษาอังกฤษตามผลสอบของ TOEFL ในระดับ≥ ๕๐๐ หรือ ผลสอบ IELTS ≥ ๕.๕ หรือ TEG ≥ ๖๕ หรือตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์
- คุณสมบัติอื่นให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ และให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการและอาจารย์มหาวิทยาลัยด้านสังคมศาสตร์ พุทธศาสตร์และสาขาวิชาที่
เกี่ยวข้องและสัมพันธ์
- รับราชการครู รับราชการในส่วนราชการต่าง ๆ
- รับราชการในกระทรวงวัฒนธรรม
- รับราชการในส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
- วิทยากรอิสระ
- อาชีพที่เกี่ยวข้องกับกิจการงานทางสังคมศาสตร์
- ใช้ร่วมกับทุกสาขาอาชีพที่นักศึกษาประกอบอาชีพก่อนนั้นแล้ว
- รับราชการในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ข้อมูลหลักสูตร
- ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Liberal Arts Program in Buddhist Studies for
Development
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศน.ด. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy
(Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Buddhist Studies for Development)
- วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
54 หน่วยกิต - รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาเอก แผน 2.1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
5.2 ภาษาที่ใช้
จัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ภาษาไทยได้
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาสาขาวิชาเดียว
จุดเด่น
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความรู้ลึกซึ้งในพุทธ
ศาสตร์เพื่อการพัฒนา รวมถึงสามารถบูรณาการองค์ความรู้จากศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนองความท้าทายและความต้องการของสังคมในระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ส่งเสริมการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีทักษะในการวิจัย
- การคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน โดยสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับชุมชน สังคม และระดับโลก รวมถึงการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์เพื่อการเผยแผ่องค์ความรู้ด้านพุทธศาสตร์
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความยึดมั่นใน
คุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพ พร้อมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตน โดยใช้หลักพุทธธรรมเป็นกรอบในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกําหนดกรอบมาตรฐานทางด้านคุณธรรมจริยธรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 คือ “กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา”
- หลักสูตรพุธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่สอนให้นักศึกษามีความเป็นผู้นําทาง
ความคิดที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะในการพัฒนาชุมชนและสังคมพร้อมทั้งมีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และเป็นพลเมืองโลกที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและยั่งยืน
คุณสมบัติผู้สมัคร
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ.รับรองหรือคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
- สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา ต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือตามเหมาะสมโดยให้ยึดมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นที่สิ้นสุด
- ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม
- คุณสมบัติ นอกเหนือจากข้อ 1 – 5 ให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือคณะ/สาขาวิชา หรือการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างเอกฉันท์
จบแล้วทำอาชีพอะไร
- นักวิชาการและอาจารย์มหาวิทยาลัย (Academic and University Lecturer)
- นักวิจัยและนักพัฒนานโยบาย (Researcher and Policy Developer)
- ที่ปรึกษาด้านศาสนาและการพัฒนา (Religious and Development
- นักพัฒนาสังคมและชุมชน (Community and Social Developer)
- นักบริหารองค์กรทางศาสนา (Religious Organization Administrator)
- วิทยากรและนักบรรยาย (Speaker and Educator)
- ผู้นําทางศาสนาและนักเผยแผ่ธรรม (Religious Leader and Preacher)
- นักพัฒนาองค์กร (Organizational Developer)
- นักสื่อสารและผู้ผลิตสื่อด้านศาสนา (Religious Media Specialist)
- นักวิเคราะห์และนักประเมินโครงการทางศาสนาและสังคม (Religious and Social
- นักวิชาการนานาชาติด้านพุทธศาสตร์ (International Buddhist Scholar)
- นักพัฒนานวัตกรรมด้านพุทธศาสตร์ (Buddhist Innovation Developer)
วิทยาเขตที่เปิดสอน
วิทยาเขตอีสาน
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (เปิดการเรียนการสอนเฉพาะในเรือนจำเท่านั้น)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤตและพุทธศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤตและพระไตรปิฎกศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4ปี)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4ปี)
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา (4ปี)
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (4ปี)
หลักสูตรระดับปริญญาโท
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา